สนาม: แผนที่ Baidu
บทนำ: ร.ต.อ.เฉลิม กล่าวอีกว่า หลังกลุ่ม นปช.จะออกมาเคลื่อนไหว ตนก็ทุกข์ใจ เนื่องจากเกรงว่าจะมีการเผชิญหน้ากับกลุ่มกปปส. ทำให้เกิดความรุนแรงได้ และกรณีโฆษกพรรคเพื่อไทยระบุว่าพล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี จะเข้ามาช่วยงาน ศรส.นั้น ขณะนี้ยังไม่มีการปรึกษากันในเรื่องดังกล่าว ส่วนเรื่องที่ตนส่งหนังสือขอความรู้ต่อศาลแพ่งกรณีข้อห้าม 9 ข้อนั้น ขณะนี้ท่านยังไม่ตอบ แต่เชื่อว่าถ้าท่านได้อ่านนิวยอร์คไทม์ ที่เขียนวิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องนี้คงแทบจะร้องไห้แน่ๆ ...
สนาม: สิน่า
บทนำ:สำหรับประเทศไทย Prof. Klitgaard ให้ความเห็นว่า มีการสำรวจความคิดเห็นประชาชนอยู่บ่อยครั้ง แต่เท่าที่ทราบยังไม่เคยเห็นมีการจัดอันดับ (Ranking) ระดับความพึงพอใจที่ประชาชนมีต่อหน่วยงานของรัฐในระดับต่างๆ นอกเหนือจากนั้น เรายังสามารถอาศัยการวิเคราะห์ระบบการทุจริต จากวิธีการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัญหาการทุจริต เช่น จากโครงการการจัดซื้อจัดจ้างผ่านทางการสัมภาษณ์ตัวต่อตัว (One on one interview) กับนักธุรกิจเอกชน สิ่งที่ IOD ดำเนินการอยู่ในขณะนี้ คือ การดำเนินการของ คณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนเพื่อต่อต้านการทุจริต หรือ CAC (Private Sector Collective Action Coalition against Corruption)* ถือว่าเป็นสิ่งที่ควรสนับสนุน โดยอาจจัดเวทีให้กลุ่มบุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) จากทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาคธุรกิจเอกชน รัฐบาลและ ภาคประชาสังคม ได้มีการระดมความคิดเห็นว่า ต้องทำอย่างไรเพื่อจัดการกับเรื่องทุจริตในประเทศไทย ที่ได้กลายเป็น ระบบการทุจริต (Corruption systems) คือ เป็นการทุจริตที่ซับซ้อน มีหลายรูปแบบแพร่ไปอยู่ในแทบทุกส่วนของสังคมไทย ดังนั้น ผู้นำของแต่ละภาคส่วนต้องเข้ามาร่วมแก้ไขอย่างจริงจัง และต้องมีการระบุ Champion หรือ ผู้รับผิดชอบหลัก ของแต่ละภาคส่วน อย่างเป็นทางการ เพื่อประโยชน์ในการติดตามและขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ Klitgaard บอกว่าไม่มีใครอยากเป็นแค่ผู้ประสานงาน โดยไม่มีอำนาจในการขับเคลื่อนหรือตัดสินใจ เมืองไทยมีหลายคณะมากที่เป็นแค่ประสานงานแต่ไม่มีอำนาจในการตัดสินใจ สิ่งเหล่านี้ทำให้งานถูกขับเคลื่อนไปได้ช้า เพราะคนเข้าประชุมทำหน้าที่แค่ Messenger มาบอกผู้มีอำนาจ แทนที่จะมีผู้ที่ได้รับมอบหมายสามารถตอบรับ หรือปฏิเสธได้เลยว่าทำได้หรือไม่ อย่างไร
ลิงค์ที่เป็นมิตรเวลาปัจจุบัน:2021-03-09